บริษัทยาข้ามชาติจับมือแก๊ง ค์หมอพาณิชย์ ผลักดันการจัดซื้อวัคซีนป้อ งกันมะเร็งปากมดลูก (HPV) เข้า ครม. เร็วๆนี้ โดยจะใช้งบจัดซื้อเข็มละ 500 บาท ต้องฉีด 3 เข็ม คือ 1500บาท กับเด็กหญิงปีละ ประมาณ 400,000 คน เป็นเงิน 600 ล้านบาท ซึ่งมากกว่างบประมาณที่ทุกว ันนี้ใช้ซื้อวัคซีนจำนวน 8 ตัวที่ฉีดฟรีในเด็กทั่วประเ ทศ
ปัญหาที่สำคัญคือ ปีที่แล้วมีคนเสนอรัฐบาลที่ แล้ว ในราคาเข็มละ 200 บาท กระทรวงสาธารณสุขยังปฏิเสธเ พราะอยากเน้นการคัดกรองมะเร ็งและราคายังไม่ต่ำ กว่า 190 บาทต่อเข็มตามที่ต่อรองไป เพราะวัคซีนนี้ต้นทุนไม่เกิ น 90 บาทแน่ๆ
ทำไมต้องซื้อในราคาแพงขนาดน ี้ ส่วนต่าง 500-190=310 บาท x 400,000 คน = 124 ล้านบาท กำลังจะถูกสูบไปอยู่กระเป๋า ใคร
นี่ไม่ใช่การกินแค่ปีเดียว แต่นับจากนี้ต้องซื้อทุกปี กินกันระยะยาวนานนน
งานวิชาการของโครงการประเมิ นเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุข ภาพ (HITAP) ชี้ว่าสถานการณ์ปัจจุบัน มะเร็งปากมดลูกพบมากเป็นอัน ดับสองในหญิงไทย มีจำนวนผู้ป่วยใหม่ 6,000 รายต่อปี และเสียชีวิต 2,000 รายต่อปี มีวิธีการป้องกัน 2 วิธี ได้แก่ การตรวจคัดกรองและการให้วัค ซีน HPV
วัคซีน HPV
(1) ป้องกันการติดเชื้อ Human Papilloma Virus (HPV) ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคมะเร็ง
ปากมดลูก แต่เนื่องจากเชื้อมีหลายสาย พันธุ์ และแตกต่างกันในแต่ละประเทศ คาดว่าวัคซีนป้องกันการเกิด มะเร็งปากมดลูกในหญิงไทยได้ 50-70% ของผู้ที่ฉีดวัคซีน
(2) อายุที่เหมาะสมสำหรับการฉีด วัคซีนคือก่อนมีเพศสัมพันธ์ ครั้งแรก หากฉีดวัคซีนให้กับผู้ที่เค ยมีเพศสัมพันธ์มาแล้ว วัคซีนอาจไม่สามารถป้องกันก ารติดเชื้อ HPV ได้
(3) ยังไม่มีข้อมูลถึงประสิทธิผ ลของวัคซีนในระยะยาวเกินกว่ า 10 ปี ทำให้ไม่ทราบว่าการฉีดวัคซี น 3 เข็มตอนเริ่มต้นจะสามารถป้อ งกันการติดเชื้อ HPV ได้นานเพียงใด
(4) จากการประเมินความคุ้มค่าขอ งวัคซีน HPV ในประเทศไทยพบว่า วัคซีนที่ราคาปัจจุบัน 2,000 บาทต่อเข็ม ไม่มีความคุ้มค่าเมื่อเปรีย บเทียบกับการคัดกรอง ยกเว้นเมื่อวัคซีนมีราคาต่ำ กว่า 190 บาทต่อเข็ม ซึ่งจะทำให้ต้นทุนของการฉีด วัคซีนเท่ากับงบประมาณที่จะ ประหยัดได้จากการรักษาผู้ป่ วยมะเร็งปากมดลูกในอนาคต
(5) ความคุ้มค่าของวัคซีนจะลดลง หากวัคซีนไม่สามารถป้องกันก ารเกิดมะเร็งได้ตลอดอายุ เช่น หากต้องการฉีดกระตุ้นในอนาค ตราคาวัคซีนต้องต่ำกว่า 24-81 บาทต่อเข็มจึงมีความคุ้มค่า ขึ้นกับว่าต้องฉีดอีกกี่เข็ ม
(6) ฉีดวัคซีนแล้วยังต้องดำเนิน การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตา มเดิมทุกประการ ไม่ได้ลดต้นทุนในส่วนน
การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดล ูก
ความครอบคลุมการตรวจคัดกรอง มะเร็งปากมดลูกในปัจจุบันคิ ดเป็นร้อยละ 70 ซึ่งสูงขึ้นกว่าสถานการณ์ก่ อนปีพ.ศ.2548 ที่มีการคัดกรองร้อยละ 20 จากการเพิ่มขึ้นของการตรวจค ัดกรองนี้คาดว่าใน 5-10 ปีข้างหน้าจะมีผู้ป่วยมะเร็ งปากมดลูกลดลง 1,500 คนต่อปี และป้องกันการเสียชีวิตได้ 750 คนต่อปี พร้อมกับประหยัดงบประมาณในร ักษาปีละ 102 ล้านบาท
ข้อเสนอ
(1) เพิ่มความครอบคลุมการตรวจคั ดกรองให้ได้ตามเป้าหมายของป ระเทศคือร้อยละ 80 ซึ่งจะลดจำนวนผู้ป่วยมะเร็ง ได้อีก 530 ราย และลดจำนวนผู้เสียชีวิต 240 ราย
(2) หากให้วัคซีน HPV แก่หญิงไทยควรพิจารณาราคาที ่เหมาะสมดังตัวเลขข้างต้น และเน้นให้มีการตรวจ คัดกรองมะเร็งครอบคลุมให้ได ้ร้อยละ 80 เพราะพบว่ามีประชาชนส่วนหนึ ่งเข้าใจผิดว่า การฉีดวัคซีนสามารถทดแทนการ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกไ ด้ ซึ่งไม่เป็นความจริง
(3) ควรผ่านการพิจารณาโดยคณะกรร มการวัคซีนแห่งชาติ และคณะอนุกรรมการชุดสิทธิปร ะโยชน์ฯของ สปสช. รวมทั้งคณะอนุกรรมการพัฒนาบ ัญชียาหลักแห่งชาติ เพราะจะต้องพิจารณาวัคซีนให ม่ไปพร้อมกันอีกหลายตัว
ปัญหาที่สำคัญคือ ปีที่แล้วมีคนเสนอรัฐบาลที่
ทำไมต้องซื้อในราคาแพงขนาดน
นี่ไม่ใช่การกินแค่ปีเดียว แต่นับจากนี้ต้องซื้อทุกปี กินกันระยะยาวนานนน
งานวิชาการของโครงการประเมิ
วัคซีน HPV
(1) ป้องกันการติดเชื้อ Human Papilloma Virus (HPV) ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคมะเร็ง
ปากมดลูก แต่เนื่องจากเชื้อมีหลายสาย
(2) อายุที่เหมาะสมสำหรับการฉีด
(3) ยังไม่มีข้อมูลถึงประสิทธิผ
(4) จากการประเมินความคุ้มค่าขอ
(5) ความคุ้มค่าของวัคซีนจะลดลง
(6) ฉีดวัคซีนแล้วยังต้องดำเนิน
การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดล
ความครอบคลุมการตรวจคัดกรอง
ข้อเสนอ
(1) เพิ่มความครอบคลุมการตรวจคั
(2) หากให้วัคซีน HPV แก่หญิงไทยควรพิจารณาราคาที
(3) ควรผ่านการพิจารณาโดยคณะกรร
— with
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น